คุณสมบัติของ OpenFiler นั้นคือเป็น linux ที่ดัดแปลงจาก CentOS แต่มีการใช้งานผ่านหน้าเว็บ Interface ทำให้ง่ายต่อการใช้งานพอสมควร
สามารถเข้าไปอ่านรายละเอียดเพิ่มเติมได้
http://www.openfiler.com/
http://www.openfiler.com/products/screenshots/
Download ได้ที่ ขนาดไฟล์ประมาณ 300+ MB
http://www.openfiler.com/community/download/
เริ่มติดตั้งใช้งานกัน
A Install
- Partition
HDD1
/boot 100 MB
/ 2048 MB
/swap 2048 MB (2 เท่าของ RAM แต่ไม่เกิน 2 GB นะครับ)
ที่เหลือให้เป็น free
HDD2
free
-Remember Root/Password (มีคำแนะนำว่าให้ใช้แบบง่าย ๆ อย่าซับซ้อนมาก เพราะบางท่านเจอจะมีปัญหากับ OpenLDAP ให้ใช้แบบง่าย ๆ ไปก่อนนะครับ เช่น cat หรือ password )
B Configuration
https://192.168.99.12:446
Defualt User / Password = openfiler / password
1 Network setting and Update
ที่แทบ System
1.1 เช็คค่า Network Configuration
1.2 Update ต้องทำเป็นอันดับแรกไม่เช่นนั้นมี Bug เยอะมาก เมนูอยู่ด้านบนขวาครับ และต้องทำให้สำเร็จจนกว่าระบบแจ้ง Nothing to be updated
1.3 Reboot 1 รอบ
1.4 Network Interface Configuration เพื่ม Network ที่ต้องการ Access เข้ามาได้ หรือ IP เครื่องที่ต้องการให้ใช้งาน
1.5 ที่แทบ Service Disabled Service ต่าง ๆ ก่อนค่อยมาเปิดทีหลัง
2 Create Account and Group With LDAP
ที่แทบ Account
2.1 เลือก
Use LDAP
- Use Local LDAP Server
- Use TLS
- Server : 127.0.0.1
- Base DN : dc=itdue,dc=com
- Root bind DN : cn=openfiler,dc=itdue,dc=com
- Root bind password : Password ของ Root ตอนติดตั้ง
- SMB LDAP Configuration
- User password policy
2.2 ที่เมนูขวามือ เลือก Administration แล้วเลือกเมนู Group Administration จากนั้นเพิ่มชื่อ Group
2.3 ที่เมนู User Administration เพิ่ม User ที่ใช้งาน
3 Create Volume Group
3.1 เลือก แทบ Volumes ตั้งชื่อ Volume ที่ต้องการ (เมื่อแชร์แล้วระบบจะเห็นชื่อนี้ด้วยดังนั้นควรตั้งชื่อให้สื่อความหมายกับ ผู้ใช้งาน)
3.2 เลือก Physical Volume
4 Create Filesystem Volume
ที่แทบ Share
4.1 Click create a new filesystem volume
4.2 เลือก Select Volume Group ที่สร้างไว้ แล้วกด Chang
- ใส่ Volume Name, Volume Description, Requred Space, Filesystem
5 Create Share Folder
ที่แทบ Share
5.1 Click ชื่อ Volume Group ที่สร้างไว้
5.2 ใส่ชื่อ Folder ที่ต้องการแชร์
5.3 Click ชื่อ Folder ที่สร้างไว้ แล้วเลือก Make Share
5.4 Group access configuration เลือก
- Controlled access
- PG สร้าง Primary Group ให้กับ Folder ที่แชร์
- RW ให้ Group นั้น Read และ Write ได้
5.5 Host access configuration เลือก
- Restart services
- RW
6 Quota
6.1 Select Volume and Edit group quota
6.2 Edit group quota
- ด้านบนไว้สำหรับทำทุก ๆ Group
- ด้านล่างไว้สำหรับจัดการแยกแต่ละ Group
7 Enable Service
7.1 Enable Service ที่ใช้งานครับ
8 You Done
หวังว่าพอเป็นประโยชน์ต่อท่านที่กำลังศึกษาอยู่บ้างนะครับ
เพิ่มเติม
- อย่าลืมเข้าไปเปลี่ยน Password Admin ด้วยนะครับ
- ไม่ทราบว่าใครพอมีบทความที่เกียวกับ
- การใช้งาน iscsi
- การใช้งานร่วมกับ AD รบกวนแปะ link ให้หน่อยนะครับ เผื่อได้เอาไปศึกษาต่อได้
ขอบคุณครับ
0 comments:
Post a Comment